วันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึก   อนุทิน
สัปดาห์ ที่ 6      ประจำวันที่ 19  เดือน  กรกฏาคม   ..2556

เรื่อง แนวทางการจัดประสบการณ์สหรับเด็กปฐมวัย


1.เน้นทักษะทางภาษา เช่น  ความหมายของคำ การแจกลูคำสะกด






2.การสอนแบบธรรมชาติ เช่น การเรียนรู้จากประสบการณ์และการลงมือทำ                                                                                                                       










บันทึอนุทิน

สัปดาห์ที่ 5  ประจำวันที่ 12 กรกฏาคม พ.ศ 2556

เรื่อง  องค์ประกอบของภาษา

นักทฤษฏีที่เกี่ยวกับองค์ประกอบของเสียง


และมีอีกมากมายแต่ยกตัวอย่างเพียงคนเดียวครับ




กิจกรรมที่อาจารย์ให้ทำ
วาดรูปสิ่งที่ชอบในวัยเด็กสิ่งนั้น คือ  เบย์เบยดครับเพราะมันมีเรื่องน่าสงสัยอยู่เยอะ  และที่สำคัญมันเล่นแล้วสนุกมาก ครับบบ


สิ่งที่ได้รับ
ได้รู้เกี่ยวกับนักทฤษฏีที่เกี่ยวกับองค์ประกอบของเสียง แนวคิดของแต่ละคนและที่สำคัญคือ ได้รู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของเสียง  ครับบบบ

วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึก   อนุทิน
สัปดาห์ที่4 ประจำวันที่ 5 เดือนกรกฎาคม    .. 2556
เรื่อง  ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยในแต่ละด้าน
                  
         
   
ในคาบเรียนนี้เพื่อนๆแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอทฤษฏีที่แต่ละกลุ่มได้รับมอบหมายซึ่งแบ่งกลุ่มในห้องเรียนเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มของข้าพเจ้าได้กลุ่มที่ 4 ได้นำเสนอสาระความรู้ในรูปแบบของการแสดง ในตอนแรกที่ได้รับมอบหมายงานอย่างแรกที่กลุ่มของข้าพเจ้าคิดเป็นลำดับแรกก็คือ  พวกเราจะนำเสนองานอย่างไรให้ออกมาน่าสนใจ ไม่น่าเบื่อ  และเพื่อนได้สาระความที่พวกเราจะมอบให้ จึงได้ข้อสรุปออกมาเป็นนำเสนอในรูปแบบของ การแสดง ในการนำเสนออาจมีข้อผิดพลาดอยู่บ้าง แต่ก็ถือว่าได้รับการตอบรับที่ดี

วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึก   อนุทิน      
สัปดาห์ที่  3     ประจำวันที่ 28   เดือน  มิถุนายน    .. 2556
   ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากกิจกรรมรับน้องของมหาวิทยาลัย


                                        บันทึก   อนุทิน     
สัปดาห์ที่  2     ประจำวันที่ 21   เดือน  มิถุนายน    .. 2556
          เรื่องความหมายของภาษา
บันทึก   อนุทิน                             
สัปดาห์ที่  2     ประจำวันที่ 21   เดือน  มิถุนายน    .. 2556
เรื่องความหมายของภาษา
ภาษา หมายถึง การสื่อความหมาย เป็นเครื่องมือในการแสดงความคิดความรรู้สึก
1.    เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารกัน
2.    เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้หาความรู้ และประสบการณ์
3.    เป็นเครื่องมือเสริมสร้างความเข้าใจอันดีความสัมพันธ์ที่ไกล้ชิดกันยิ่งขึ้น
4.    เป็นเครื่องมือช่วยจรรโลงจิตใจและสร้างความบันเทิง

ทฤษฏีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเพียเจท์ Piaget   เด็กจะต้องมีปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม เป็นปัจจัยสำคัญในพัฒนาการทางด้านภาษาและสติปัญญา นอกจากนี้ประสบการณ์ก็ยังเป็นองค์หนึ่งในการพัฒนาสติปัญญาด้านภาษาอีกด้วย
กระบวนการเรียนรู้มี  2  กระบวนการ คือ
1.     การดูดซึม  Assimilation

2.     การปรับความเข้าใจเดิมที่มีอยู่แล้วให้กับสิ่งแวดล้อมใหม่  Accommodation


Piaget  แบ่งพัฒนาการด้านสติปัญญา มีความสัมพันธ์ กับการใช้ภาษา ดังนี้
1.    ขั้นพัฒนาการด้านประสาทสัมผัส  Sensorimoter Stage  แรกเกิด – 2 ปี
2.    ขั้นเตรียมความคิดที่มีเหตุผล  Preoperational Stage                                       2-4 ปี   แสดงสัญลักษณ์ออกโดยคิดว่า  คนอื่นคิดเหมือนตน  ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง
4-7 ปี  Intuitive Period  มีความรู้สึกนึกคิดเล็กน้อย ,  เริ่มสร้างมโนทัศน์ ,  เริ่มจัดกลุ่มของสิ่งของ
3.    ขั้นการคิดแบบรูปธรรม  Concrete  Operationsl  Stage 7-11 ปี
4.    ขั้นการคิดแบบนามธรรม  Formal  Operationsl  Stage  11-15 ปี


                             จากการเรียนการสอนในคาบเรียนนี้ทำให้ข้าพเจ้ามีความเข้าใจว่า  ภาษา มีความสำคัญกับเด็กๆมากภาษาช่วยให้สมองทำงานได้ดังนั้นเด็กที่สามารถใช้ภาษาได้อย่างดีนั้นก็จะถือได้ว่าเด็กคนนั้นเป็นเด็กที่มีสติปัญญาดี  นอกจากเรื่องสติปัญญาแล้วภาษายังเป็นสิ่งสำคัญมากในการเข้าสังคมและอื่นๆอีกด้วย
                          
 
บันทึก   อนุทิน
สัปดาห์ ที่ 1       ประจำวันที่ 14 เดือน  มิถุนายน    .. 2556
เรื่องการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
ซึ่งการเรียนในครั้งนั้นผมได้ความรู้มากมาย ยิ่งไปกว่านั้นยังได้เรียบเรียงความคิดออกมามาเป็นผังความคิดหรือ MY MAPPING ได้รู้ถึงลำดับความคิด องค์ประกอบของการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย วันนั้นนอกจากได้ทำ MY MAPPING อาจารย์ยังสอนการทำบล็อกเพจ จากเว็บไซด์เพื่อที่จะได้สะสมการและยังอัพเดธให้เพื่อนดูได้ ด้วย
ผมและเพื่อนๆได้ระดมความคิดในการทำ MY MAPPING ว่ามีองค์ความรู้ และ ลำดับความคิดอย่างไร